
หน้าแรก
ในช่วงปีนี้ก็มาถึงการปรับใช้ภาษีที่ดินฉบับใหม่ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมคาดว่าจะเริ่มใช้ภายในต้นปี 2563 โดยได้เปลี่ยนแปลงการปรับอัตราภาษีสำหรับสิ่งปลูกสร้างประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน คอนโด และอื่นๆ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม รวมถึงผลักดันให้เกิดการกระจายที่ดินและกระตุ้นการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ มาดูกันเลยว่าภาษีที่ดินแต่ละประเภทเป็นยังไงกันบ้าง
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมีกี่ประเภท?
1. เกษตรกรรม ปรับอัตราภาษีตามมูลค่าที่ดินดังนี้ โดยมีเพดานอยู่ที่ 0.15%
2. บ้านพักอาศัย ปรับอัตราภาษีตามมูลค่าที่ดินดังนี้ โดยมีเพดานอยู่ที่ 0.3%
3. พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ปรับอัตราภาษีตามมูลค่าที่ดินดังนี้ โดยมีเพดานอยู่ที่ 1.2%
4. ที่ดินรกร้างที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ จะถูกเก็บภาษีเริ่มต้นที่ 0.3% ทุก 3 ปี หากไม่ได้ใช้ทำประโยชน์ โดยมีเพดานที่ 3%
ใครบ้างที่ต้องเสียภาษี ?
สำหรับผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างก็คือบุคคลที่เป็นเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหรือผู้ครอบครองหรือใช้ทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นทรัพย์สินของรัฐ
ใครล่ะที่จัดเก็บภาษี ?
เก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่ออะไร ?
อัตราภาษีใหม่ล่าสุดนี้คาดว่าจะเริ่มใช้ภายใน 1 ม.ค. 2563 ที่จะถึงนี้ ซึ่งใช้เวลาเกือบ 2 ปีในการพิจารณากว่าจะคลอดออกมาได้ สำหรับใครที่เป็นเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ก็เตรียมรับมือในการปรับอัตราภาษีใหม่ที่กำลังจะมาถึงกัน
ทำไมพื้นที่ EEC ถึงน่าจับตามองสำหรับนักลงทุน
2020-04-14
ทริคต่อรองราคาซื้อบ้านมือสอง ให้ WIN-WIN ทั้งสองฝ่าย
2020-06-25
5 เคล็ดลับการปั้มเงินเดือน
2019-08-27
TM30 online (ตม.30) ออนไลน์ ไม่รู้ไม่ได้ มาดูขั้นตอนการทำง่ายๆ ที่สายปล่อยเช่าต่างชาติต้องรู้
2020-04-08
รวมมิตรคำถามลงทุนปล่อยเช่าคอนโด
2020-04-13
เร็วๆนี้จะมีผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ติดต่อคุณ
หากไม่ต้องการให้ช่วยเหลือแล้ว กรุณากดยกเลิกได้ในอีเมลที่คุณได้รับค้นหาล่าสุด
ทําเลที่ถูกค้นหามากที่สุด
พระราม 9 เพชรบุรีตัดใหม่
พระราม 9 เพชรบุรีตัดใหม่ RCA ศูนย์วิจัย คลองตัน
สุขุมวิท อโศก ทองหล่อ
สุขุมวิท อโศก ทองหล่อ เอกมัย พร้อมพงษ์ ประสานมิตร
อ่อนนุช อุดมสุข
อ่อนนุช อุดมสุข พระโขนง บางจาก ปุณณวิถี
เกษตรศาสตร์ รัชโยธิน
เกษตรศาสตร์ รัชโยธิน เสือใหญ่ เสนานิคม วังหิน รัชวิภา บางเขน
นวมินทร์ รามอินทรา
นวมินทร์ รามอินทรา แฟชั่นไอส์แลนด์ วัชรพล สายไหม หทัยราษฎร์ สุขาภิบาล 5
สะพานควาย จตุจักร
สะพานควาย จตุจักร หมอชิต ประดิพัทธ์ อินทามะระ
สายรถไฟฟ้าที่ถูกค้นหามากที่สุด
ดีมากๆ เป็นเว็บที่ให้ข้อมูลดีค่ะ
เข้าใจลึกซึ่งเลยครับ 555555
บอความดี ขออนุญาตแชร์ครับ
เนื้อหาดีค่ะ
รีวิวเขียนดีจังค่ะ
ชอบไอเดียค่ะ ได้แบบใหม่ๆอีกเยอะเลย